ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

Wearable แวร์เอเบิ้ล

แวร์เอเบิ้ล (Wearable) คืออะไร? มีประวัติความเป็นมาจากไหน?
Wearable ก็คืออุปกรณ์สวมใส่ติดตัวกับร่างกายเสมือนว่าสิ่งของชิ้นนี้ที่เราพกพาเป็นดั่งอวัยวะส่วนนึงของร่างกายที่เราจะขาดเสียไม่ได้ในชีวิตประจำวันหรือห่างตัวเราไม่ได้เลยหากคิดและมองให้ดี Wearable มันก็เหมือนของเล่นที่เราเล่นหรือใช้จนเกิดอาการเสพติดขาดมันไปเราก็ลงแดงแล้วถ้าเราย้อนอดีตไปในช่วงยุคต้น ๆ จากการที่ผมสืบค้นหาข้อมูลจากหลาย ๆ เว็บที่มีเรื่องราวประวัติของ Wearable พบว่ามันเริ่มมาจากสิ่งประดิษฐ์ง่าย ๆ อย่าแว่นตาที่มีต้นกำเนิดจากประเทศอิตาลี ในช่วงค.ศ 1285 และมีการพัฒนาตัวแว่นตามาเรื่อย ๆ
โดยเริ่มต้นโดยบาทหลวง Giordano da Pisa (**ที่มา WikiPedia) เป็นผู้คิดค้นแว่นตาขึ้นมานับเป็นเวลาถึง 12 ปีที่เขาคิดค้นและพัฒนาและนำสู่การปฏิวัติให้ผู้คนที่มีปัญหาทางสายตาได้มองเห็นได้อย่างชัดเจนเหมือนเป็นคนปกติหรืออย่างเครื่องคิดเลขอย่างลูกคิดที่ชาวจีนคิดค้นขึ้นในช่วงยุคทศวรรษที่ 17 และดัดแปลงให้มันเล็กลงจนเป็นแหวนเป็นต้น


จะเห็นได้ว่าจุดเริ่มต้นมาจากปัญหาในการใช้ชีวิตแถบทั้งสิ้นเลยต้องมีนักคิดนักประดิษฐ์เพื่อสร้างสรรค์อุปกรณ์ของวิเศษที่จะช่วยให้ชีวิตคนเราที่เจอปัญหาที่เกิดขึ้นให้ชีวิตดำเนินไปได้ง่ายขึ้นและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างสะดวกสบายมากขึ้นจากอุปกรณ์พื้นฐานอย่างแว่นตา นาฬิกา เครื่องคำนวณตัวเลขอย่างลูกคิดและวิวัฒนาการของ Wearable ยุคแรกเริ่มจนมาสู่ยุคอีเล็กทรอนิกส์เป็น Wearable ที่มีลูกเล่นมากขึ้นหลากหลายมากขึ้นโดยการผนวกจากสิ่งของหลายอย่างให้มารวมอยู่ในชิ้นเดียวกันพกพาสะดวกทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในแนวความคิดใหม่ ของการประดิษฐ์และคิดค้นจนเกิดสิ่งใหม่ออกเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันของคนเราได้อย่างไม่น่าเชื่อจนเกิดอุปกรณ์ที่มีพื้นฐานจากยุคแรกเริ่มที่เราเห็นได้ชัดเจนในยุคไอทีอย่าง Smartwatch, Google Glasses, กำไลข้อมือสุขภาพ, แหวนที่สวมใส่แล้วแจ้งเตือนของส่วนตัวหายหรือแม้นแต่นาฬิกาสำหรับคนพิการที่สามารถช่วยให้คนพิการทางสายตารับรู้ได้ว่าเวลาเดินอยู่ที่กี่โมงนั้นก็คืออุปกรณ์ที่เกิดมาสำหรับคนที่ต้องการมันจริง ๆ ที่อยากให้ชีวิตของตัวเองสะดวกสบายขึ้น

Wearable Technology ในยุคใหม่เริ่มต้นจากไหน?
Wearable หรืออุปกรณ์สวมใส่นั้นตามที่กล่าวตอบไว้แล้วและหลาย ๆ คนรู้จักดีอย่าง Smartwatch ที่ คนในยุคไอทีอยากได้มาใช้งานโดยมีประโยชน์ในด้านช่วยให้คนเราที่รักสุขภาพหรือรักการออกกำลังกายได้รับรู้ว่าแต่ล่ะวันใช้พลังงานไปกี่แคลโลรี่ เดินวิ่งไปกี่ก้าว นอนไปกี่ชั่วโมง หรือตั้งเวลากำหนดแจ้งเตือนหรือใช้งานร่วมกับ Smart Phone เพื่อช่วยแจ้งเตือนนัดหมาย แจ้งเตือนว่ามีมิสคอลกี่สาย มีแมสเซสข้อความเข้ามันก็ช่วยให้เราคล่องตัวขึ้นแต่นั้นมันไม่ได้เหมาะกับคนทุกคนเพราะ Life Style แต่ล่ะคนต่างกันไปอีกอย่างเจ้าตัว Wearable ในยุคไอทีมีความเกี่ยวข้องกับงานด้านแฟชั่นรวมอยู่ด้วยตัวอย่าง Wearable ที่เกิดขึ้นมาสำหรับผู้ชื่นชอบออกกำลังกายและเป็นจุดเริ่มต้นก็คงเป็นอุปกรณ์ของไนกี้คือ Nike+ FuelBand



ภาพและข้อมูลจาก WikiPedia https://en.wikipedia.org/wiki/Nike%2B_FuelBand

ที่ออกแบบมาในลักษณะของสายรัดข้อมือเพื่อตอบโจทย์ผู้ที่ชื่นชอบออกกำลังกายแต่ในช่วงแรกที่วางขายในช่วงปี 2012 นั้นยังไม่บูมนักจะมีเพียงกลุ่มผู้ที่รักสุขภาพชอบออกกำลังกายและสนใจอุปกรณ์ชิ้นนี้กับมีกำลังซื้อเทคโนโลยีตัวนี้มาใช้งานเท่านั้นโดยในตัวฟีเจอร์ของ Nike Plus FuelBand นี้จะเพียงตัวตรวจจับนับก้าวเดินกับตัวคำนวณวัดจำนวณการเผาพลาญแคลโลรี่ต่อวันเท่านั้นเรียกได้ว่าสุดจะเบสิคการทำงานของมันจะใช้งานร่วมกับ Smart Phone อย่าง Apple iPhone และ Android Phone ได้
แต่เมื่อไนกี้ทำแล้วก็ย่อมต้องมีบริษัทอื่น ๆ ที่มองเห็นช่องทางทำเป็นของตนเองทำออกมาแข่งขันในตลาดทำให้ในปัจจุบันเราจะเห็นตัวอุปกรณ์ Smartwatch ออกมาขายมากมายเต็มไปหมดแล้วมันก็ได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะด้วยราคาที่ถูกลงฟีเจอร์ที่มากขึ้นยกตัวอย่างของถูกคุณภาพดีอย่าง Xiaomi Mi Band ที่ดูเรียบง่ายแต่การออกแบบดูออกไปทางแฟชั่นสวมใส่ง่ายในลักษณะของสายรัดข้อมือ Wristband แต่หลายคนหรือหลายแบรนด์จะเรียกกันว่า Smart Band แทนก็คือ “สายรัดข้อมืออัจฉริยะ” นั้นเอง




ภาพจาก http://www.mi.com/en/miband

ราคาวางจำหน่ายที่ไม่ถึงพันบาทแต่ประสิทธิภาพการจับวัดและเก็บสถิติถือว่าทำได้ดีโดยทำงานร่วมกับแอปใน Smart Phone แต่ก็มีกลุ่มรุ่นที่จะมีฟีเจอร์และความแม่นยำสูงกว่าย่อมแพกว่าพอสมควรอย่างกลุ่มของแบรนด์ Garmin เป็นต้นซึ่งมันทำให้เรารับรู้สถานการณ์ทำงานของร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยำกว่าแบรนด์อื่น ๆ หรือถ้าจะคลาดเคลื่อนก็เล็กน้อยกว่ามากบางรุ่นกว่าจะขยับตัวเลขวัดการนับก้าวก็ขึ้นยากกว่าปกติแต่รวม ๆ ถ้าจับมาเทียบวัดนับก้าวกันจะเห็นความต่างได้อย่างชัดเจนแต่กระนั้นการเลือกซื้อของคุณก็อยู่กับงบและความชอบส่วนบุคคลเป็นปัจจัยหลักครับ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ศาสตร์เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ( computer engineering) เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและสร้างเครื่องหรือระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ ศาสตร์นี้เกี่ยวข้องกับการศึกษาทางด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การสื่อสาร และความเกี่ยวเนื่องระหว่างเรื่องทั้งสาม หลักสูตรการเรียนมุ่งเน้นทางด้าน ทฤษฎี กฎ และ การฝึกฝนปฏิบัติของทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์รวมถึงการประยุกต์เข้ากับปัญหาทางด้านการออกแบบคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์ที่ใช้คอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์ ศึกษาการออกแบบระบบฮาร์ดแวร์ดิจิทัล ซึ่งรวมถึงระบบการสื่อสาร องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ วิศวกรคอมพิวเตอร์จะเรียนการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมุ่งเน้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์สำหรับอุปกรณ์ดิจิทัล และ การสร้างส่วนต่อประสานระหว่างผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ และ ระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งความรู้ทางด้านวิศวกรรมที่ดีด้วย ปัจจุบันสาขาวิชาที่สำคัญในด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์คือ ระบบฝังตัว การพัฒนาอุปกรณ์ที่มีซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ฝังตัวภายใน เช่น อุปกรณ์สื่อสารอย่าง โทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่

คุณลักษณะของระบบสารสนเทศ TPS, MIS, DSS, EIS

คุณลักษณะของระบบสารสนเทศ TPS, MIS, DSS, EIS 1. ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ ( Transaction Processing System : TPS)      ระบบการประมวลผลทางธุรกิจ มักเป็นการประมวลผลต่อวัน เช่น การรับ – จ่ายบิล ระบบควบคุมสินค้าคงคลัง ระบบรายรับ – จ่ายสินค้า ระบบนี้เป็นระบบสารสนเทศลำดับแรกที่ได้รับ การพัฒนาให้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นของระบบ TPS   การทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้เกือบทั้งหมดใช้การประมวลผลแบบออนไลน์ และสิ่งที่องค์กรจะได้รับเมื่อใช้ระบบนี้ คือ      – ลดจำนวนพนักงาน      – องค์กรจะมีการบริการที่สะดวกรวดเร็ว      – ลูกค้ามีจำนวนเพิ่มมากขึ้น 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System : MIS)      ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ คือ ระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้บริหารที่ต้องการ การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้ประโยชน์มากกว่าการช่วยงานแบบต่อวัน MIS จึงมีความสามารถในการคำนวณเปรียบเทียบข้อมูล ซึ่งมีความหมายต่อการจัดการและบริหารงานเป็นอย่างมาก นอกจากนั้นระบบนี้ยังสามารถสร้างสารสนเทศที่ถูกต้องทันสมัย คุณสมบัติของระบบ MIS คือ

ISP คืออะไร

ISP ISP คืออะไร ทำหน้าที่อะไร จากที่ได้เกริ่นมาแล้วเบื้องต้นถึงหน้าที่บ้างส่วนของ ISP แล้ว หลายคนคงอยากรู้ว่า ISP คืออะไร ISP ย่อมาจากคำว่า Internet Service Provider ซึ่งเป็นหน่วยงานและองค์กรที่ให้บริการการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อาทิเช่น เมื่อเราเรียกเปิดใช้งานเว็บไซต์หนึ่งเว็บไซต์ คำสั่งที่เราร้องขอจะผ่านเข้าไปยัง ISP เพื่อให้ ISP ช่วยเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ที่เราต้องการ ข้อดีของการมีผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตหลาย ๆค่ายนั้นก็คือ จะสามารถทำให้ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในประเทศนั้นสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้เร็วขึ้น เพราะมีการแข่งขันด้านความเร็วนอกจากนั้นผู้ใช้งานยังสามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงที่ถูกลงด้วยเนื่องจากมีการแข่งขันด้านราคาและเทคโนโลยีอยู่เสมอ รูปแบบการให้บริการของ ISP เมื่อเทียบกับสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอินเตอร์เน็ตใช้งานครั้งแรกเรามีเพียง ISP เพียงค่ายเดียวเท่านั้นก็คือ CAT บริษัท กสท โทรคมนาคม ซึ่งในเวลานั้นทั้งความเร็วที่มีระดับต่ำและไม่ค่อยเสถียร รวมถึงราคาในการใช้อินเตอร์เน็ตก็สูงด้วย แต่หลังจากเปิดเสรีมีบริษัทเอกชนเข้ามาแข่งขันกันทำให้ประสิทธิภาพกา