ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

Social commerce

Social commerce คือ การใช้  Social Technology  ในการยกระดับประสบการณ์ในการจับจ่ายสินค้า ให้ดีและสะดวกยิ่งขึ้น พูดง่ายๆ ก็คือ เรากำลังเข้ามาถึงยุคที่เราควรจะนึกต่อยอดได้แล้วว่าพวก  Social Technology  ที่เราเห็นๆ กันอยู่ในทุกวันนี้มันสามารถเอามาทำอะไรให้กับผู้บริโภคได้บ้าง ?  เราจะติดต่อสื่อสารและทำความเข้าใจวิธีการที่ผู้คนช้อปปิ้งกันให้ดียิ่งขึ้น ได้อย่างไร ?  เราจะ  Design  ประสบการณ์ในการซื้อของผู้บริโภคใหม่ได้อย่างไร ?  และเราจะสร้างความน่าติดตามของสินค้าและบริการ ด้วย  Social Technology  ได้อย่างไร ?  โดยส่วนตัว ผมเชื่อว่านักการตลาดแต่ละท่านก็คงมีแนวทางในการใช้  Social Technology  เพื่อสร้างประสบการณ์ในการซื้อให้ลูกค้าอยู่แล้ว ดังนั้นผมจะขอเอา  Case Study  สั้นๆ มารวมไว้ตรงนี้ เผื่อว่าจะนำไปประยุกต์ใช้กันได้ สัดส่วนการตลาดของ Social Commerce แนวโน้มการตลาดแบบดิจิทัลของธุรกิจในประเทศไทยยังขยายตัวอย่างต่อเนื่อ ง เพราะจำ นวนผู้ใช้บริการ บนโลกออนไลน์ได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ตลอดจนมีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูล หรือเพื่อเลือกซื้อสินค้าในรูปแบบอีคอมเมิร์ซ E- Commerce ซ
โพสต์ล่าสุด

E-business,E-Commerce, M-Commerce

E-business E-Business นั้น คือ การดำเนินกิจกรรมทาง “ ธุรกิจ ” ต่างๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต เพื่อทำให้กระบวนการทางธุรกิจ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของคู่ค้า และลูกค้าให้ตรงใจ และรวดเร็วและเพื่อลดต้นทุน และขยายโอกาสทางการค้า และการบริการ เมื่อเข้าสู่ยุคดิจิทัลจะมีคำศัพท์ที่ได้ยินบ่อยๆ อาทิ E-Commerce E-Commerce มีชื่อที่แปลเป็นภาษาไทยว่า “ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ” โดยความหมายของคำว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มีผู้ให้คำนิยามไว้เป็นจำนวนมาก แต่ไม่มีคำจำกัดความใดที่ใช้เป็นคำอธิบายไว้อย่างเป็นทางการ ซึ่งมีดังนี้ “ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ” ( ศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ , 2542)” “ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ” (WTO, 1998) “ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ธุรกรรมทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิงพาณิชย์ ทั้งในระดับองค์กรและส่วนบุคคล บนพื้นฐานของ การประมวลและการส่งข้อมูลดิจิทัลที่มีทั้งข้อความ เ

ISP คืออะไร

ISP ISP คืออะไร ทำหน้าที่อะไร จากที่ได้เกริ่นมาแล้วเบื้องต้นถึงหน้าที่บ้างส่วนของ ISP แล้ว หลายคนคงอยากรู้ว่า ISP คืออะไร ISP ย่อมาจากคำว่า Internet Service Provider ซึ่งเป็นหน่วยงานและองค์กรที่ให้บริการการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อาทิเช่น เมื่อเราเรียกเปิดใช้งานเว็บไซต์หนึ่งเว็บไซต์ คำสั่งที่เราร้องขอจะผ่านเข้าไปยัง ISP เพื่อให้ ISP ช่วยเชื่อมต่อไปยังเว็บไซต์ที่เราต้องการ ข้อดีของการมีผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ตหลาย ๆค่ายนั้นก็คือ จะสามารถทำให้ผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ตในประเทศนั้นสามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้เร็วขึ้น เพราะมีการแข่งขันด้านความเร็วนอกจากนั้นผู้ใช้งานยังสามารถใช้บริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงที่ถูกลงด้วยเนื่องจากมีการแข่งขันด้านราคาและเทคโนโลยีอยู่เสมอ รูปแบบการให้บริการของ ISP เมื่อเทียบกับสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอินเตอร์เน็ตใช้งานครั้งแรกเรามีเพียง ISP เพียงค่ายเดียวเท่านั้นก็คือ CAT บริษัท กสท โทรคมนาคม ซึ่งในเวลานั้นทั้งความเร็วที่มีระดับต่ำและไม่ค่อยเสถียร รวมถึงราคาในการใช้อินเตอร์เน็ตก็สูงด้วย แต่หลังจากเปิดเสรีมีบริษัทเอกชนเข้ามาแข่งขันกันทำให้ประสิทธิภาพกา

ระบบ ERP

ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์กร ( Enterprise Resource Planning : ERP) การบริหารจัดการภายในองค์กร เนื่องจากมีการแข่งขันกันที่สูง องค์กรต่าง ๆ จึงต้องมีการพัฒนากระบวนการและข้อมูลทั้งหมด ในองค์กร เพื่อที่จะได้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้น โดยจะมีการนำอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทในห่วงโซ่อุปทาน ( supply chain) โดยเป็นแหล่งจำหน่ายสินค้าที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคโดยตรง โดยการผลิตตามความต้องการของลูกค้า ซึ่งจะมีการติดต่อระหว่างสายการผลิตไปจนถึงช่องทางจำหน่ายทั้งนี้เพื่อที่จะลดขั้นตอนในห่วงโซ่อุปทาน จะทำให้ลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิต ซึ่งจะต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการการผลิตดังนี้ 1.การพัฒนารูปแบบของการดำเนินงานในโรงงาน โดยจะมีการนำเอา e-Manufacturing เข้ามาใช้ในโรงงานนั้นจะช่วยในเรื่องของการผลิตสินค้าเพื่อเก็บไว้ในคงคลัง , จัดมาตรฐานของหน้าบ้าน และการจัดการบำรุงรักษาเครื่องจักร มีประสิทธิภาพขึ้น ดังนี้ -การจัดเก็บสินค้าคงคลังให้ได้คุณภาพสูง -การจัดการสินทรัพย์ , การจัดหาวัตถุดิบ และการบำรุงรักษา 2.การนำเอาอินเทอร์เน็ตมาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม อินเทอร์เน็ตนั้นได้เข้ามามีส่ว

ระบบ SCM

ระบบ   Supply Chain Management   (SCM)             กระบวนการโดยรวมของการไหลของวัสดุ สินค้า ตลอดจนข้อมูล และธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านองค์การที่เป็นผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย ไปจนถึงลูกค้าหรือผู้บริโภคโดยที่องค์การต่าง ๆ เหล่านี้มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจต่อกัน    ในการปรับตัวขององค์การเพื่อการจัดการห่วงโซ่อุปทานนั้น สิ่งที่สำคัญ คือ เพื่อให้องค์การมีความสามารถในการบริหาร ความเติบโต ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้ - การแข่งขันที่รุนแรง -การกลายเป็นโลกาภิวัตน์ - ความไม่แน่นอน -การขาดความไว้ใจซึ่งกันและกัน - ไม่มีการแชร์หรือแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน การประยุกต์ใช้กลยุทธ์การบริหาร SCM ในการบริหารกลยุทธ์นั้น ผู้บริหารหรือองค์การสามารถเลือกใช้กลยุทธ์ได้หลายวิธีทั้งนี้ควรพิจารณาความเหมาะสม และสภาพธุรกิจขององค์การ กลยุทธ์ของ SCM สามารถแบ่งประเด็นสำคัญ ๆ ได้ดังนี้ 1. ความยืดหยุ่นในระบบ ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นในการปรับปรุงระบบ การใช้พนักงานชั่วคราว การใช้อุปกรณ์ที่ทำงานได้หลากหลาย การจ้างหน่วยงานภายนอกทำงาน การปรับปรุงกร

Outsource

Outsource ความเป็นมาของ Outsourcing             การ Outsource คือการที่องค์กรมอบหมายงานบางส่วนของตนให้กับบุคคลหรือองค์กรภายนอกมาดำเนินการแทน โดยผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้กำหนดและควบคุมกำกับทุกส่วนตั้งแต่นโยบายไปจนถึงการปฏิบัติงานในทุกๆขั้นตอนของผู้รับจ้าง                         การให้บริการ Outsource ด้านระบบสารสนเทศ สามารถแบ่งการให้บริการใหญ่ๆได้ดังแสดงดังรูป Desktop Services Network management / Networking & Connectivity Services Web Hosting Data Center Services Continuity Services Application Management Services เราอาจจะเลือกใช้เทคโนโลยี ( Computer Operation) เป็นการกล่าวถึง outsourcing ด้านนี้ เพราะ outsource จะมีหลากหลายงานไม่ว่าจะเป็นยาม , แม่บ้านทำความสะอาด เห็นว่าด้าน computer จะดูเรื่อง maintain ซึ่งงานส่วนใหญ่ที่มองเห็นจะเป็น 1 ใน 3 จะเป็น System ระบบ Admin ทั้ง software, hardware และ Network ดูแลระบบเพื่อให้ทำงานได้ อาจจะโอนเครื่องหรือโอนคนหรือโอนทั้งสองอย่างไปยังคนที่รับจ้าง Outsourcing เช่น ธนาคาร เป็นต้น จา